การนำข้อมูลขึ้น Server

การนำข้อมูลขึ้น Server ด้วยโปรแกรม File Zilla

Hc FileZilla1รูปที่. 1
1. เปิดโปรแกรม File Zilla เเล้วเลือกที่เมนู File>Site Manager ตามรูปที่ 1.

 

 

Hc FileZilla2รูปที่. 2
2. กรอกรายละเอียดการใช้งานต่างๆ เเล้วกด Connect ตามรูปที่ 2.

 

Hc FileZilla3รูปที่. 3
3. เมื่อเชื่อมต่อเเล้ว ด้านซ้ายมือจะเป็นเครื่องของผู้ใช้งาน ขวามือคือพื้นที่บน Hosting ตามรูปที่ 3.
ให้คลิกเข้าไปที่โฟล์เดอร์ Domainname ของผู้ใช้งาน ตามรูปที่ 3.

 

 

Hc FileZilla4รูปที่. 4
4. เมื่อคลิกเข้าไปเเล้วจะพบ โฟลเดอร์ www ให้คลิกที่โฟลเดอร์ www ตามรูปที่ 4.

 

 

Hc FileZilla5รูปที่. 5
5. เมื่อเข้ามาถึง Path นี้คือที่เก็บข้อมูลของ WebSite คะ /ชื่อUser/ชื่อWebSite/www/
ด้านซ้ายมือคือเครื่องผู้ใช้งาน เเละด้านขวามือคือพื้นที่ของระบบ Hosting ที่จะนำข้อมูลมาวาง
เพื่อโชว์หน้า Website คะ (ใช้งานครั้งแรกให้ลบไฟล์ default.htm ออกเพื่อให้ไฟล์ index ของท่านเรียกขึ้นเป็นหน้าแรกได้ครับ)

การนำข้อมูลขึ้น Server ด้วยโปรแกรม Ws Ftp Pro

Hc WsFtp1

รูปที่. 1
1. เปิดโปรแกรม Ws Ftp Proเเล้วเลือกที่เมนู Connections >New Connection ตามรูปที่ 1.

Hc WsFtp2

รูปที่. 2
2. ใส่ชื่อ Web Site ของผู้ใช้งาน ตามรูปที่ 2.

Hc WsFtp3

รูปที่. 3
3. เลือก FTP เเล้วกด Next ตามรูปที่ 3.

Hc WsFtp4

รูปที่. 4
4. ใส่ Server Address จะเป็น ftp.domainname.com ตามรูปที่ 4.

Hc WsFtp5

รูปที่. 5
5. ใส่รายละเอียดผู้ใช้งาน User Name เเละ Password ตามรูปที่ 5.

Hc WsFtp6

รูปที่. 6
6. กด Finish เมื่อการตั้งค่าเสร็จสมบูรณ์คะ ตามรูปที่ 6.

Hc WsFtp7

รูปที่. 7
7. เมื่อ Connect เข้าสู่ระบบ ก็จะพบ Folder Domainname ให้คลิกเข้าไปคะ ตามรูปที่ 7.

Hc WsFtp8

รูปที่. 8.
8. เมื่อคลิกเข้ามาก็จะพบ Folder www ให้คลิกเข้าไปคะ ตามรูปที่ 8.

Hc WsFtp9

รูปที่. 9

9. เมื่อเข้ามาถึง Path นี้คือที่เก็บข้อมูลของ WebSite คะ /ชื่อUser/ชื่อWebSite/www/
ด้านซ้ายมือคือเครื่องผู้ใช้งาน เเละด้านขวามือคือพื้นที่ของระบบ Hosting ที่จะนำข้อมูลมาวางเพื่อโชว์หน้า Website คะ

Hc Dreamweaver1

รูปที่. 1
1. เปิดโปรแกรม Dreamweaver CS3 ให้เลือกที่เมนู Site>New Site ตามรูปที่ 1.

Hc Dreamweaver2

รูปที่. 2
2. ใส่ชื่อ Web Site ของผู้ใช้งาน ตามรูปที่ 2.

Hc Dreamweaver3

รูปที่. 3
3. เลือก No เเล้วกด Next ตามรูปที่ 3.

Hc Dreamweaver4

รูปที่. 4
4. เลือกข้อเเรก ส่วนที่เก็บข้อมูลโปรแกรมจะตั้งมาให้อัตโนมัติ ตามรูปที่ 4.

Hc Dreamweaver5

รูปที่. 5
5. ใส่รายละเอียดเลือกเป็น FTP เเละใส่ Server Address เช่น ftp.domainname.com ตามรูปที่ 5.
เเละใส่ path ที่เก็บข้อมูลจะเป็น /ชื่อUser/ชื่อWebSite/www/
เเละใส่ชื่อ Username เเละ Password เเล้วให้กด Test ตามรูปที่. 5
หาก Test ผ่าน ให้กด Next ตามรูปที่. 5
หาก Test ไม่ผ่าน ให้ไปที่เเถบ Advanced ตามรูปที่. 6

Hc Dreamweaver6

รูปที่. 6
6. ให้เลือกที่ Use Passive FTP เเล้วกด OK ตามรูปที่ 6.

Hc Dreamweaver7

รูปที่. 7
7. เมื่อ Connect เข้าสู่ระบบ ก็จะพบ Path ที่เก็บข้อมูลของระบบ Hosting คะ ตามรูปที่ 7.

การจัดการไฟล์และโฟลเดอร์ด้วย Folder Manager

 

รูปที่. 1

 

1. เข้าที่ HC Controller และเลือกหัวข้อ Folder Manager ตามรูปที่ 1.

2 คลิกเลือกโฟลเดอร์ www ระบบจะแสดงไฟล์ทั้งหมดของเราทางด้านขวามือ ซึ่งหากต้องการอัปโหลดไฟล์ขึ้นโฮส ให้อัปโหลดให้อยู่ภายใน root >domain.com >www เท่านั้นถึงจะใช้งานได้

 

** ในการอัปโหลดครั้งแรก ต้องลบ default.htm ออกก่อน ไม่อย่างนั้นหน้า index ของท่านจะไม่แสดงผลครับ **

 

รูปที่. 2

การจัดการไฟล์ หรือโฟลเดอร์

ท่านสามารถจัดการกับไฟล์ได้ง่ายๆเพียงเลือกที่ การกระทำ (Action) ด้านหลังไฟล์ที่ต้องการ ไม่ว่าจะเป็นการ การแก้ไข การเปลี่ยนชื่อ หรือการลบไฟล์

 

การเพิ่มโฟลเดอร์ หรือไฟล์

ให้คลิกที่ปุ่มเพิ่มโฟลเดอร์ เพื่อสร้างโฟลเดอร์ หรือคลิก Add New File เพื่อเพิ่มไฟล์

 

 

รูปที่. 3

3 เมนูในส่วนนี้ จะเป็นการบีบอัดไฟล์ ซึ่งมีผลทำให้ขนาดไฟล์เล็กลง และจะทำให้สะดวกในการโอนย้าย หรือ backup ข้อมูล เปรียบเสมือนการใช้งาน winzip ในเครื่องเรานั่นเอง

 

รูปที่. 4

4 ส่วนนี้เป็นการอัปโหลดไฟล์จากเครื่องเราขึ้นไปบน server ซึ่งสามารถอัปโหลดได้พร้อมกันถึง 4 ไฟล์

(ไฟล์ขนาดใหญ่แนะนำให้อัปโหลดทีละไฟลและไฟล์ที่มีขนาดใหญ่มากกว่า 10M แนะนำให้ใช้โปรแกรม FTP ในการอัปโหลดไฟล์)

เป็นการเปลี่ยน Permission ให้กับไฟล์และโฟลเดอร์ นั่นเอง 

รูปที่ 1.
โดยเข้าที่ Folder & Security และเลือก Folder Manager ตามรูปที่ 1.

รูปที่ 2
เข้าที่ Root >yourdomain.com >www จากนั้นเลือกไฟล์หรือโฟลเดอร์์ที่ต้องการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสิทธิ์ และเลือกตั้งค่าตามรูปตัวอย่างที่ 2

รูปที่ 3
ให้ทำการตั้งค่าตาม user และสิทธิ์ที่ต้องการได้ทันที โดยเมื่อเพิ่มสิทธิ์เรียบร้อย ระบบจะโชว์สิทธิ์ที่เราตั้งค่าไว้ตามรูปที่ 3.
 

(การติดตั้งcms ทั่วไปเช่น joomla จะต้องทำการเปลี่ยนแปลงสิทธิ์ค่า configuration หรือไฟล์อื่นๆที่โปรแกรมต้องการ ให้เขียนได้ (full control) ก่อน จึงจะสามารถติดตั้งได้ แต่หากท่านใช้ joomla โดยเฉพาะ แนะนำให้สมัครเป็น Unix plan จะใช้งานได้สะดวกกว่า)

เรารับประกันในการให้บริการ และประสิทธิ์ภาพของ Server ของเรา โดยทางบริษัท ฯ ยินดีคืนเงิน ภายใน 30 วัน เมื่อลูกค้าไม่พอใจ ในการให้บริการ หรือ ประสิทธิ์ภาพของ Server ของเรา

บริษัท เซิร์ฟเบส คอมมูนิเคชั่น จำกัด

✉ 90/41 หมู่ 18 ถ.สุขสวัสดิ์ ต.บางพึ่ง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ 10130

เลขประจำตัวผู้เสียภาษี : 0115546010320

Call Us:

  • qxio-ios-telephone0-2462-6758
  • qxif-fax0-2462-6751